เป้าหมายการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
- เข้าใจเนื้อหาที่เป็นพื้นฐาน เพื่อเรียนรู้วิชาอื่น เช่น วิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ พันธุกรรมศาสตร์ อย่างเช่น ความน่าจะเป็นมาใช้ในการวิเคราะห์ศึกษาพันธุกรรมของเมล็ดถั่ว ในทางชีววิทยาใช้เลขยกกาลังในการกำหนดหน่วยความยาวของดีเอ็นเอ (DNA) อัตราส่วนและยกกาลังไปใช้ในการหาดัชนี มวลกายของคน เพื่อวิเคราะห์และศึกษาภาวการณ์สะสมไขมันตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย การแปรเปลี่ยนของอุณหภูมิ แผนที่ทางอากาศบอกช่วงเวลาเศรษฐศาสตร์ อย่างเช่น วิธีการอ่านกราฟและฟังก์ชัน การหาดุลยภาพและการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของตลาด เรียนรู้วิธีการตัดสินใจที่เหมาะสมที่สุดของผู้บริโภคและผู้ผลิต
การงานอาชีพ ศิลปะ อย่างเช่น อัตราส่วนการปรุงอาหาร การประกอบอาชีพ การออกแบบ การใช้เทคโนโลยี การสื่อสาร การเขียนโปรแกรมฯ การประมาณขนาดรูปร่างในการวาดภาพ มองโครงสร้างโมเดลจำลองในการสร้างประติมากรรม การเปรียบเทียบขนาดรูปร่างทางเรขาคณิต(พื้นที่ / ปริมาตร)
สังคม ประวัติศาสตร์ อย่างเช่น การบอกเวลา ระยะทาง บอกค่าเงิน(การแปลงค่าเงิน / การซื้อขายแลกเปลี่ยน) การคำนวณปีจากอดีต-ปัจจุบัน(พ.ศ. / ค.ศ.) ลักษณะทางภูมิศาสตร์ การออกแบบภูมิปัญญา(ปัญญาประดิษฐ์) การคำนวณความกว้างของแม่น้ำ การสร้างที่อยู่อาศัย ฤดูกาล
สุขศึกษา พลศึกษา อย่างเช่น การคำนวณค่าดัชนีมวลร่างกาย(BMI) การบอกค่าพลังงานจากสารอาหาร การวัดขนาดร่างกาย (น้ำหนัก / ส่วนสูง) การนับการเต้นของหัวใจ
- พัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์ การแก้ปัญหา การมองเห็นรูปแบบ (Pattern) การสร้างภาพในสมอง การให้เหตุผล การสื่อสาร เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาด้วยวิธีที่หลากหลาย
Mind mapping (สาระการเรียนรู้)
- ครู -
หน่วยการเรียนรู้ : ขบวนการตัวเลข2
ภูมิหลัง : คณิตศาสตร์ในQuarterนี้เป็นการต่อยอดความรู้เดิมตลอดการเรียนรู้ในเนื้อหาQuarter 1/59 ในเนื้อหาที่ผ่านมาเรียนรู้เรื่องเกี่ยวกับการวัดเป็นส่วนใหญ่ การเรียนรู้ในที่ต่อเนื่องจากสาระการวัดคือเรขาคณิตและบูรณาการเนื้อหาเข้าสู่พีชคณิต โดยเป้าหมายส่วนหนึ่งที่ครูวางแผนไว้ก็คือ นักเรียนทบทวนความเข้าใจการดำเนินการตัวเลขที่มีหลายระดับ มีความเข้าใจเกี่ยวกับการแก้ปัญหาแบบรูปและความสัมพันธ์พร้อมมีวิธีคิดที่หลากหลาย เข้าใจเกี่ยวรูปร่างกับรูปทรงสามารถอธิบายส่วนประกอบต่างๆได้ แล้วนักเรียนนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้กับชีวิตประจำวันของตนเองได้อย่างเหมาะสม
เป้าหมายความเข้าใจ : นักเรียนทบทวนความเข้าใจการดำเนินการตัวเลขที่มีหลายระดับ มีความเข้าใจเกี่ยวกับการแก้ปัญหาแบบรูปและความสัมพันธ์พร้อมมีวิธีคิดที่หลากหลาย เข้าใจเกี่ยวรูปร่างกับรูปทรงสามารถอธิบายส่วนประกอบต่างๆ และนำความรู้ไปปรับประยุกต์ใช้ได้
ปฏิทินการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ ขบวนการตัวเลข2
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 Quarter 2 / 2559
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
1
|
โจทย์
ทบทบกิจกรรม
-ทักษะและกระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์
คำถาม
- นักเรียนมีความเข้าใจเรื่องใดบ้างในรายวิชาคณิตฯ
และเรื่องใดบ้างที่พี่ๆสนใจอยากเรียนรู้
- เรื่องใดบ้างพี่ๆ อยากทำความเข้าใจเพิ่มเติมในการเรียนรู้ในQuarterนี้
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Show and Share
- Wall thinking
- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ไม้ขีด
|
- ครูพานักเรียนเล่นเกมกระตุ้นการคิด
“ให้นักเรียนขยับไม้ขีด 1 ก้าน เพื่อให้สมการเป็นจริง
นักเรียนมีวิธีคิดอย่างไร?”
- นักเรียนร่วมเลนเกม พร้อมนำเสนอวิธีคิด
*เพื่อเตรียมความพร้อมผู้เรียน
และเชื่อมโยงเข้าสู่สาระการเรียนรู้
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนมีความเข้าใจเรื่องใดบ้างในรายวิชาคณิตฯ
และเรื่องใดบ้างที่พี่ๆสนใจอยากเรียนรู้ ”
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ตนเองสนใจอยากเรียนรู้
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด
“เรื่องใดบ้างพี่ๆ อยากทำความเข้าใจเพิ่มเติมในการเรียนรู้ในQuarterนี้”
*นักเรียนสรุปองค์ความรู้ก่อนเรียนรู้ ในQ.2/59
|
ภาระงาน
- นักเรียนได้เล่นเกมก้านไม้ขีดไฟ
- นักเรียนช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่
- นักเรียนแสดงความคิดเห็น
- นักเรียนทำใบงาน
ชิ้นงาน
- ชิ้นงานสร้างสรรค์จากกิจกรรมเกมการคิด
- สรุปความเข้าใจ(ก่อนเรียน)
ในชิ้นงานรูปแบบที่หลากหลาย
|
ความรู้
นักเรียนทบทวนความเข้าใจในการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ใคร่ครวญกับสิ่งที่แต่ละคนอยากเรียนรู้เพิ่มเติม
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
- ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ
และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, และ ป.3/6
|
........................................
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
2
|
โจทย์
การดำเนินการของตัวเลขที่มีหลายระดับ (วิ่งแข่งความเร็ว)
คำถาม
- นักเรียนคิดว่าหากแบ่งช่วงเวลาในการวิ่งด้วยความเร็วคงที่ของสัตว์แต่ละตัวเป็น 4 ช่วงเท่าๆกัน สัตว์แต่ละตัวต้องวิ่งช่วงละกี่วินาที?
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Show and Share
- Wall thinking
- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- เรื่องเล่าสัตว์แข่งความเร็ว
- ตารางลงคะแนนเลือกตั้งเจ้าป่าแห่งความเร็ว |
- นักเรียนร่วมเลนเกม พร้อมนำเสนอวิธีคิด
*เพื่อเตรียมความพร้อมผู้เรียน และเชื่อมโยงเข้าสู่สาระการเรียนรู้
- ครูเล่าเรื่องเกี่ยวกับสัตว์วิ่งแข่งขันความเร็วเพื่อหาเจ้าป่า
- ครูกำหนดตารางลงคะแนนสัตว์เลือกตั้งให้กับพี่ๆ สังเกต ก่อนจะให้นักเรียนเติมตัวเลขลงตามช่องต่างๆ ในตารางผ่านเรื่องเล่า - เมื่อตารางครบ ดังนี้
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด
|
ภาระงาน
- นักเรียนได้เล่นเกมประกาศผลสอบ
- นักเรียนช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่
- นักเรียนแสดงความคิดเห็น
- นักเรียนออกแบบตารางการดำเนินการตัวเลขที่มีหลายระดับ
ชิ้นงาน
- ชิ้นงานสร้างสรรค์จากกิจกรรมเกมการคิด
- ออกแบบตารางการดำเนินการตัวเลขที่มีหลายระดับ
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจและเกิดความคิดรวบยอดและความรู้สึกเชิงจำนวน สามารถนำตัวเลขมาดำเนินการผ่านการบวก ลบ คูณ หารได้และอธิบายแลกเปลี่ยนได้อย่างมีเหตุผล
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
- ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นคุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค1.2:
มาตรฐาน ค 6.1 : มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, และ ป.3/6- บวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณ หาร ระคน ของจำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสน และศูนย์ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ - วิเคราะห์และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาและโจทย์ปัญหาระคนของจำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสน และศูนย์ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ: ตัวชี้วัด ป.3/1, ป.3/2 |
........................................
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
3
|
โจทย์
แบบรูปและความสัมพันธ์
คำถาม
- นักเรียนคิดว่าจำนวนต่อนี้เพิ่มขึ้นทีละเท่าไร?
- นักเรียนคิดว่าจำนวนต่อนี้ลดลงทีละเท่าไร?
- นักเรียนคิดว่าชุดตัวเลขที่ครูกำหนดให้
มีความสัมพันธ์กันในรูปแบบใด?
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Show and Share
- Wall thinking
- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แผ่นภาพชุดตัวเลข
|
- ครูพานักเรียนเล่นเกมกระตุ้นการคิด
จากโจทย์ปริศนาตัวเลข
1
, 3,
5, …, 9, 11
เพื่อเตรียมความพร้อมผู้เรียน
และเชื่อมโยงเข้าสู่สาระการเรียนรู้
กระบวนการ : แบบรูปที่เพิ่มขึ้น
- ครูนำชุดแบบรูปที่เพิ่มขึ้นที่ละ 3
มาให้นักเรียนคิด
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด
“นักเรียนคิดว่าชุดตัวเลขที่ครูกำหนดให้
มีความสัมพันธ์กันในรูปแบบใด?”
- นักเรียนร่วมแลกเปลี่ยนวิธีคิดจากโจทย์ พร้อมนำเสนอ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนคิดว่าจำนวนต่อนี้เพิ่มขึ้นทีละเท่าไร?”(พร้อมมีตัวเลือกให้)
- นักเรียนร่วมแลกเปลี่ยนวิธีคิดจากโจทย์ พร้อมนำเสนอ
- ครูนำชุดแบบรูปที่เพิ่มขึ้นที่ละ
25 มาให้นักเรียนคิด และครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนคิดว่าชุดตัวเลขที่ครูกำหนดให้
มีความสัมพันธ์กันในรูปแบบใด?”
- นักเรียนร่วมแลกเปลี่ยนวิธีคิดจากโจทย์
*ครูให้โจทย์ใหม่ท้าทายยิ่งขึ้น
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด
แล้วช่วยจัดระบบข้อมูลขณะนักเรียนออกมาแสดงวิธีคิด
- ครูให้นักเรียนทำใบงานแบบรูปที่เพิ่มขึ้น
กระบวนการ : แบบรูที่ลดลง
- ครูนำชุดแบบรูปที่ลดลงที่ละ 3 มาให้นักเรียนคิด
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด
“นักเรียนคิดว่าชุดตัวเลขที่ครูกำหนดให้
มีความสัมพันธ์กันในรูปแบบใด?”
- นักเรียนร่วมแลกเปลี่ยนวิธีคิดจากโจทย์
*ครูให้โจทย์ใหม่ท้าทายยิ่งขึ้น
หรือ
- ครูนำชุดแบบรูปที่ลดลงที่ละ 25 มาให้นักเรียนคิด
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนคิดว่าชุดตัวเลขที่ครูกำหนดให้
มีความสัมพันธ์กันในรูปแบบใด?”
- นักเรียนร่วมแลกเปลี่ยนวิธีคิดจากโจทย์
*ครูให้โจทย์ใหม่ท้าทายยิ่งขึ้น
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด
แล้วช่วยจัดระบบข้อมูลขณะนักเรียนออกมาแสดงวิธีคิด
- ครูให้นักเรียนทำใบงานแบบรูปที่ลดลง
- นักเรียนเขียนสรุปความเข้าใจก่อนการเรียนรู้คณิต Q.2
|
ภาระงาน
- นักเรียนได้เล่นเกมปริศนาตัวเลข
- นักเรียนช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่
- นักเรียนทำใบงาน
ชิ้นงาน
- ใบงาน / โจทย์การคิด
- ชิ้นงานสร้างสรรค์จากกิจกรรมเกมการคิด
- สรุปความเข้าใจ(ก่อนเรียน)
ในชิ้นงานรูปแบบที่หลากหลาย
|
ความรู้
มีความเข้าใจนักเรียนเข้าใจและเห็นความสัมพันธ์ของแบบรูปที่เพิ่มขึ้น
แบบรูปที่ลดลง นำมาปรับใช้ได้กับชีวิตประจำวันได้
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจถึงเข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป
(pattern) ความสัมพันธ์
และฟังก์ชัน: ตัวชี้วัด ป.3/1
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, และ ป.3/6 |
..................................
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
4
|
โจทย์
แบบรูปและความสัมพันธ์
คำถาม
นักเรียนคิดว่าชุดตัวเลขที่ครูกำหนดให้
มีความสัมพันธ์กันในรูปแบบใด และสามารถเขียนเป็นพจน์ที่ n ได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Show and Share
- Wall thinking
- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แผ่นภาพชุดตัวเลข
|
กระบวนการ
- ครูให้นักเรียนพิจารณาแบบรูปที่กำหนดให้ต่อไปนี้ แล้วหาว่าจำนวน 3 จำนวนถัดไป จะเป็นจำนวนใด
*ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนคิดว่าชุดตัวเลขที่ครูกำหนดให้
มีความสัมพันธ์กันในรูปแบบใด และสามารถเขียนเป็นพจน์ที่ n ได้อย่างไร?”
- นักเรียนร่วมแลกเปลี่ยนวิธีคิดจากโจทย์
พร้อมนำเสนอความเข้าใจเป็นรายบุคคล
|
ภาระงาน
- นักเรียนได้เล่นเกมปริศนาตัวเลข
- นักเรียนช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่
ชิ้นงาน
- ชิ้นงานสร้างสรรค์จากกิจกรรมเกมการคิด
- สรุปความเข้าใจ(ก่อนเรียน) ในชิ้นงานรูปแบบที่หลากหลาย
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจและเห็นความสัมพันธ์สามารถหาแบบรูปพจน์ที่ n
ได้ และเข้าใจแบบรูปซ้ำนำมาปรับใช้ได้กับชีวิตประจำวันได้
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจถึงเข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป
(pattern) ความสัมพันธ์
และฟังก์ชัน: ตัวชี้วัด ป.3/1
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, และ ป.3/6 |
..................................
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
5
|
โจทย์
แบบรูปและความสัมพันธ์
*แบบรูปซ้ำ
คำถาม
- นักเรียนคิดว่าชุดตัวเลขที่ครูกำหนดให้
มีความสัมพันธ์กันในรูปแบบใด และวิธีคิดอย่างอย่างไร?
- แบบรูปซ้ำกับแบบรูปและความสัมพันธ์แบบเพิ่มขึ้นและลดลง
มีความต่างกันอย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Show and Share
- Wall thinking
- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แผ่นภาพชุดตัวเลข
|
- ครูพานักเรียนเล่นเมกิจกรรมการคิด SODUKU
กระบวนการ : แบบรูปซ้ำ
- ครูให้นักเรียนคิดโจทย์แบบรูปซ้ำ
- นักเรียนร่วมแลกเปลี่ยนวิธีคิดจากโจทย์
*ครูจะช่วยจัดระบบข้อมูล
และใช้คำถามกระตุ้นเพื่อสร้างความเข้าใจให้กับนักเรียน
จากภาพ
เป็นการแสดงจำนวนเป็นชุด แต่ละชุดมีทั้งหมด 3
จำนวน คือ 1,2,3 ซ้ำไปเรื่อยๆ
1) จำนวนนับชุดต่อไป จะเป็นจำนวนใด?
2) ชุดต่อไป จะประกอบด้วยรูปใดบ้าง?
- นักเรียนสร้างโจทย์ใหม่ด้วยตนเอง (แบบรูปซ้ำ)
และทำใบงานเกี่ยวกับแบบรูปและความสัมพันธ์
|
ภาระงาน
- นักเรียนได้เล่นเกมปริศนาตัวเลข
- นักเรียนช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่
- นักเรียนทำใบงาน
ชิ้นงาน
- ใบงาน / โจทย์การคิด
- ชิ้นงานสร้างสรรค์จากกิจกรรมเกมการคิด
- สรุปความเข้าใจ(ก่อนเรียน)
ในชิ้นงานรูปแบบที่หลากหลาย
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจและเห็นความสัมพันธ์สามารถหาแบบรูปพจน์ที่ n
ได้ และเข้าใจแบบรูปซ้ำนำมาปรับใช้ได้กับชีวิตประจำวันได้
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจถึงเข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป
(pattern) ความสัมพันธ์
และฟังก์ชัน: ตัวชี้วัด ป.3/1
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, และ ป.3/6 |
..................................
........................................
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
6-7
|
โจทย์
รูปร่าง
คำถาม
- นักเรียนคิดว่าส่วนประกอบต่างๆ ของรูปสามเหลี่ยม(ด้านและจุดยอด) หรือรูปสี่เหลี่ยมมีส่วนประกอบใดบ้าง?
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Show and Share
- Wall thinking
- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แผ่นภาพ(ด้านจุด)
- ชุดรูปร่างสามเหลี่ยม / สี่เหลี่ยม
|
- ครูพานักเรียนเล่นเมกิจกรรมการคิดตัวเลขที่หายไป
กระบวนการ : กิจกรรมเกมสามเหลี่ยม
เกมนี้มีผู้เล่น 2-3 คน
-
ผู้เล่นแต่ละคนลากเส้นตรงหนึ่งระหว่างจุดสองจุด
เมื่อผู้เล่นคนใดสร้างรูปสามเหลี่ยมได้แล้ว ให้ระบายสีรูปสามเหลี่ยม
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “แต่ละคนที่สร้างรูปสามสามเหลี่ยมได้จำนวนเท่าไหร่”
(แต่ละกลุ่มใครสร้าง)
กระบวนการ : ด้านและจุดยอด
- สร้างรูปสามเหลี่ยมโดยเชื่อมจุด
ต่อไปนี้ด้วยเส้นตรง
คำถาม
“รูปสามเหลี่ยมที่วาดได้นั้นมีเส้นตรงกี่เส้น”
“มีจุดที่อยู่ตรงมุมกี่จุด
- เขียนจุด 4 จุดลงในที่ว่างด้านล่าง
และเชื่อมจุดเพื่อสร้างรูปสี่เหลี่ยม
- ครูเตรียมกระดาษรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มาแจกให้นักเรียน
- ให้นักเรียนพับกระดาษเข้าหากัน โดยให้ด้านของกระดาษบรรจบกัน(ดังภาพ)
ความยาวของด้านตรงข้ามของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากจะเท่ากัน
- ครูพานักเรียนทำกิจกรรมสร้างที่คั่นหนังสือ
(จากการวาดภาพสี่เหลี่ยม ..ดังภาพ)
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ให้นักเรียนวาดรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ให้มีด้านยาว 2cmและ 4cm”
-นักเรียนร่วมกันสร้างที่คั่นหนังสือ
ตกแต่งวาดภาพ
ประกอบที่คั่นหนังสือ พร้อมนำเสนอ
- ครูนำภาพรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากในแบบต่างๆ มาให้นักเรียนสังเกต (ดังภาพ)
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนภาพสี่เหลี่ยมมุมฉากใดที่มีด้านเท่ากันทุกด้าน”
- นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพ
a, b, c, d
- ครูพานักเรียนเล่นเกมตัวต่อ(รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก)
|
ภาระงาน
- นักเรียนได้เล่นเกมปริศนาตัวเลข
- นักเรียนช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่
- นักเรียนทำใบงาน
ชิ้นงาน
- ใบงาน / โจทย์การคิด
- ชิ้นงานสร้างสรรค์จากกิจกรรมเกมการคิด
- ชิ้นงานรูปแบบที่หลากหลาย
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจสามารถอธิบายส่วนประกอบต่างๆ
ของรูปสามเหลี่ยม(ด้านและจุดยอด) นำพื้นฐานเรขาคณิตไปปรับประยุกต์ใช้ได้
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจถึงเข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป
(pattern) ความสัมพันธ์
และฟังก์ชัน: ตัวชี้วัด ป.3/1
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, และ ป.3/6 |
..................................
..................................
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
8
|
โจทย์
รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
คำถาม
- นักเรียนคิดว่าส่วนประกอบต่างๆ ของรูปสามเหลี่ยม(ด้านและจุดยอด) หรือรูปสี่เหลี่ยมมีส่วนประกอบใดบ้าง?
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Show and Share
- Wall thinking
- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แผ่นภาพชุดตัวเลข
|
- ครูพานักเรียนเล่นเมกิจกรรมการคิดตัวเลขที่หายไป
กระบวนการ : รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
- ครูนำกระดาษที่เตรียมไว้แจกให้นักเรียน
- ตัดกระดาษที่มีรูปร่างเหมือนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
และรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส (ดังภาพ)
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ให้นักเรียนลองสังเกตจากรูปที่ได้จากการตัด
รูปที่ได้แต่ละรูปเป็นรูปอะไร”
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นจากการสังเกต
- ครูนำรูปสี่เหลี่ยมในแบบต่างๆ
มาให้นักเรียนสังเกต(ดังภาพ)
- ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่มกลุ่มละ 3-4
คน
- ครูแจกกระดาษขนาดกว้าง 3cm และยาว 6cm (ดังภาพ)ให้กับนักเรียนเป็นกลุ่ม
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “ให้นักเรียนตัดกระดาษให้มีรูปร่างเหมือนกับรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก(ดังภาพ)
เพื่อสร้างรูปต่อไปนี้”
1.
รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
2 รูป
2.
รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
2 รูป
3.
รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
4 รูป
- นักเรียนนำเสนอผลงานของแต่ละคน พร้อมอธิบายวิธีการตัดกระดาษ
|
ภาระงาน
- นักเรียนได้เล่นเกมปริศนาตัวเลข
- นักเรียนช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่
- นักเรียนทำใบงาน
ชิ้นงาน
- ใบงาน / โจทย์การคิด
- ชิ้นงานสร้างสรรค์จากกิจกรรมเกมการคิด
- สรุปความเข้าใจ(ก่อนเรียน)
ในชิ้นงานรูปแบบที่หลากหลาย
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับรูปสามเหลี่ยมมุมฉากตามคุณสมบัติของรูปร่าง
นำพื้นฐานเรขาคณิตไปปรับประยุกต์ใช้ได้
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจถึงเข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป
(pattern) ความสัมพันธ์
และฟังก์ชัน: ตัวชี้วัด ป.3/1
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, และ ป.3/6 |
..................................
........................................
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
9
|
โจทย์
สรุปองค์ความรู้คณิต (หลังเรียน) ระดับชั้น ป.3 Quarter 2/59
คำถาม
- นักเรียนจะถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองเรียนรู้
ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้ได้อย่างไร
- นักเรียนคิดว่าตนเองได้เรียนรู้และมีความเข้าใจอะไรในวิชาคณิตศาสตร์สำหรับ
Quarter 2
เครื่องมือคิด
- Show and Share
- Wall thinking
- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศการเรียนรู้คณิต
|
- ครูพานักเรียนเล่นเกมกระตุ้นการคิด
จากโจทย์ปริศนาคำทายจากตัวเลข
เพื่อเตรียมความพร้อมผู้เรียน
และเชื่อมโยงเข้าสู่สาระการเรียนรู้
- ครูใช้คำถามกระตุ้นด้วยคำถาม
“นักเรียนจะถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองเรียนรู้
ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้ได้อย่างไร”
“นักเรียนคิดว่าตนเองได้เรียนรู้และมีความเข้าใจอะไรในวิชาคณิตศาสตร์สำหรับ
Quarter 2 “
- นักเรียนและครูร่วมแสดงความคิดเห็นและร่วมกันจัดนิทรรศการการ
เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และความเชื่อมโยงของวิชาคณิตศาสตร์กับวิชาอื่นๆ
- นักเรียนสรุปองค์ความรู้หลังเรียน
และร่วมจัดนิทรรศการถ่ายทอดความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้
สรุปองค์ความรู้คณิต (หลังเรียน)
ระดับชั้น ป.3 Quarter 2/59 |
ภาระงาน
- นักเรียนได้เล่นเกมปริศนาคำทายจากตัวเลข
- นักเรียนช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่
- นักเรียนแสดงความคิดเห็น
- นักเรียนทำใบงาน
ชิ้นงาน
- ใบงาน / โจทย์การคิด
- ชิ้นงานสร้างสรรค์จากกิจกรรมเกมการคิด
- สรุปความเข้าใจ(ก่อนเรียน)
ในชิ้นงานรูปแบบที่หลากหลาย
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจกระบวนการเรียนรู้เกี่ยวกับหน่วยต่างๆที่เรียนมา
และสรุปองค์ความรู้ นำความรู้ไปปรับประยุกต์ใช้ได้
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค1.3 เข้าใจระบบจำนวนและใช้การประมาณค่าในการคำนวณและแก้ปัญหาเกี่ยวกับจำนวน
: ตัวชี้วัด ป.3/1 , ป.3/2
มาตรฐาน ค2.2 เข้าใจการวัด และแก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด : ตัวชี้วัด ป.3/1
มาตรฐาน ค3.2 เข้าใจเรขาคณิต และใช้การนึกภาพ (visualization)
เพื่อใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial
reasoning) และใช้แบบจำลองทางเรขาคณิต (geometric
model) ในการแก้ปัญหา
: ตัวชี้วัด ป.3/1
มาตรฐาน ค4.2 เข้าใจและใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ
และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ
ตลอดจนแปลความหมายและนำไปใช้แก้ปัญหา : ตัวชี้วัด ป.3/1
, ป.3/2
มาตรฐาน ค5.2 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผล
: ตัวชี้วัด ป.3/1
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, และ ป.3/6 |
..................................
..................................
..................................